วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน (วิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน)
1. การกำหนดมาตราส่วน Graphic Rating Scale กำหนดคุณสมบัติที่สำคัญต่อการปฏิบัติงานเป็นหัวข้อ จัดเรียงเป็น มาตราส่วนจากน้อย---มาก
2. การจัดลำดับ
3. การกระจายตามหลักสถิติ
4.การตัวสอบรายการ
- การตรวจสอบรายการแบบถ่วงน้ำหนัก
- การตรวจสอบรายการแบบกำหนดทางเลือก
5. การบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญ เช่น ลักษณะการตัดสินใจ ประสิทธิภาพในการทำงาน ความรับผิดชอบ
6. การพิจารณาการปฏิบัติงาน โดยที่ HR จะสอบถามจากหัวหน้างานและบันทึกรายงานต่อผู้บริหาร ระดับสูง
7. การเขียนบันทึกการปฏิบัติงาน หัวหน้าจะจดบันทึกผลการปฎิบัติงาน โดยจะใส่ความคิดเห็นของตนลงไป
ในบันทึกเพื่อสร้างความเข้าใจในอนาคต
8.การประเมินโดยกลุ่ม
ผู้ถูกประเมินจะถูกประเมินจากคณะบุคคล ที่มีความเหมาะสม 3-4 คน
9.การประเมินทางผลงาน
ประเมินจากผลงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
ข้อผิดพลาดที่ควรคำนึงในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1. การประเมินโดยมีผลกลางๆ
2. การประเมินโดยใช้เหตุการณ์ใกล้ตัว
3. การกำหนดมาตรฐานที่ต่ำหรือสูงเกินไป
4. การใช้ความประทับใจงานบ้างเรื่องเป็นหลัก
5. การใช้ความรู้สึกมากกว่าเหตุผล
6. การเอาตัวเองเข้าเปรียบเทียบ
7. การให้ความสำคัญกับระยะเวลาในการทำงาน
8. การมีอคติกับลักษณะบางอย่างของกลุ่มบุคคล
การนำผลลัพธ์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใช้
1. นำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
- การกำหนดค่าตอบแทน
- การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง
- การปรับปรุงการปฏิบัติงาน
- การจ้างงาน
การนำผลลัพธ์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใช้
2. การแจ้งผลประเมิน
การแจ้งผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นการให้ ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แกเพนักงาน เพื่อให้รับทราบว่าตนเองปฏิบัติงาน
อยู่ในระดับใดสมควรจะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานหรือไม่ เพียงได
เอกสารที่ใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนภูมิองค์การ
• เอกสารพรรณนางาน
• บันทึกการปฏิบัติงาน
• ทะเบียนประวัติพนักงาน
• แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
- ประเมินพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน
- ประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น